Skip to main content

Posts

Robert Hurwitz - a near and dear friend

The news was brought to me on Sep 17 when I stop briefly back in the office during the ongoing workshop that Bob passed away.  I learned later that he parted on the night of Sep 15, 2020 at the age of 77. I can't stop myself from crying but the show must go on.  When I stopped sobbing, I went back up to the workshop to stay until it finished having a hard time holding my tear.  I continued to cry hard during the drive home and more after the meeting with my senior project advisees. The last time I met him was when I was in Michigan in October 2019.  He came along with Drs.Harte to have lunch with us to celebrate my birthday at Korea House, a place where we often go while I was still in East Lansing.  He still like to talk a lot but he seemed frail and speak much slower.  He definitely ate less and was not as animated as he was.  I was wondering if I would have a chance to meet with him again.  I said good bye with an uneasy feeling before sending him off in his (full of stuff) car
Recent posts

When offline meets online learning - what do we call it?

หลายคนคงสงสัยว่าทำไมเรามีรูปแบบการเรียนรู้หลายรูปแบบที่ผสมผสานกันระหว่าง offline & online แล้วแต่ละแบบมันแตกต่างกันอย่างไร.... ถ้าจะใช้มันให้ technically correct ควรจะใช้อะไรดี post นี้เลยถือโอกาสสังเคราะห์สิ่งทีได้อ่านมารวมกันไว้เพื่อเป็น reference ให้เลือกใช้ได้ถูกต้อง Blended Learning : คือกาเรียนแบบ face-to-face ที่มีส่วนผสมของการเรียน online โดยที่การเรียน online นั้นไม่ได้เน้นที่จะไปแทนการเรียน face-to-face แต่เป็นการเสริมการเรียนรู้ในห้องเรียน โดยในหลาย ๆ ครั้งจะใช้วิธี post learning resource เอาไว้ใน LMS  Hybrid Learning : เป็นอีกคำที่แทบจะใช้แทนกันกับคำว่า blended learning เพราะมีความคล้ายคลึงกันมาก แต่จริง ๆ แล้วมีความต่างกันอยู่ตรงที่การเรียน online นั้นเป็นการทดแทนการเรียนแบบ face-to-face บางส่วน หมายความว่าชั่วโมงเรียนที่ครูกับเด็กจะมาอยู่ในห้องด้วยกันอาจมีน้อยลง Flipped Classroom : ถึงแม้ว่าคำนี้จะไม่ได้มีคำว่า "learning" แต่ในเชิงแล้วก็คือมีการเรียนแบบ face-to-face และ online ผสมกันอยู่ โดยหลักการของ flipped classroom คือ การกลับเอาการให้ความรู้ไปอยู่นอกห้อ

My m&m journey is full of surprise

I had seen m&m - the colourful candy coated chocolate since I was a little girl living in the US.  When we moved to Thailand, there was no m&m but the similar candy was "Smarties", which is still available in some supermarket but has not been very popular.  I don't recall when m&m was first available in Thai supermarket and I have rejoined with it.  My memory about the m&m back then is the yellow and brown packaging representing the peanut and plain m&m.  Those in brown bag are my favourite. I do not care much about the one with peanuts. Photo credited to: http://www.americanfreestuff.com The reason m&m is full of surprise to me is because it has several variations and most of the time I enjoy it.  My first trip back to US in 1992, I saw many of the variations including almond m&m and easter m&m , which are pastel.  My favourite of all from that trip is peanut butter m&m in an orange bag .   Photo credited to: https://www.ubuy.vn/en/

Drop outs from Thai formal education

เมื่อครั้งเรียน นบก. อ.กฤษณพงศ์ ได้บรรยายถึงการตกหล่นของนักเรียนในระบบการศึกษาจำนวนมาก (อย่างที่ฟังแล้วก็น่าตกใจ) และเมื่อได้เชิญอาจารย์มาเป็นที่ปรึกษาให้พวกเราตอนทำแผน Coding อาจารย์ก็พูดถึงประเด็นนี้อีกครั้ง จึงได้คิดว่าอยากจะลองหาข้อมูลไว้เพื่อเป็นข้อมูลประกอบ ปัจจุบันคนกำลังจับตามองว่าการศึกษาในระบบ โดยเฉพาะอุดมศึกษามีความสำคัญลดน้อยลง และเห็นว่ามีผู้คนจำนวนมากมายที่ออกจากระบบการศึกษาไประหว่างทางแต่สามารถประสบความสำเร็จในระดับสูงได้ เช่น Bill Gates, Mark Zuckerberg และ Steve Jobs ทำให้มีแนวคิดที่ว่าการออกจากระบบการศึกษากลางทางไม่ได้เป็นเรื่องเสียหายอะไร แต่จริง ๆ แล้วอุดมศึกษาเราไม่ได้ออกแบบไว้ว่าเมื่อจบหนึ่งช่วง (เช่นหนึ่งเทอม หรือหนึ่งปีการศึกษา) แล้วผู้เรียนจะสามารถไปทำอะไร (จริง ๆ ตอนนี้อุดมศึกษาก็เริ่มทำแบบนี้บ้างแล้ว เช่นการให้ define Stage LO หรือ Year LO แต่ยังเป็นช่วงเริ่มต้นมาก) ทำให้การออกไประหว่างทาง บางทียังไม่ได้มีความสามารถในการทำงานจริง ๆ แต่ที่เป็นปัญหาหนักกว่าคือการออกไปกลางคันในช่วงการศึกษาพื้นฐานและอาชีวศึกษา  การออกจากระบบการศึกษาไประหว่างทางส่งผลเสียด้วยกันหลา

My view on what to teach!

       วันที่ 9 ตุลา 2563 ได้ไปทานข้าวกับลูกศิษย์ PRT16 ที่บังเอิญรวมตัวกันได้แถว ๆ ม. คนหนึ่งทำงานในมหาวิทยาลัย คนนึงมาฝึกทักษะอาชีพเพิ่มเติมที่ใกล้ ๆ มหาวิทยาลัย และคนหนึ่งบ้านอยู่แถว ๆ มหาวิทยาลัย และกำลังหางานใหม่อยู่ ได้ทานอาหารกันไปคุยกันไป อาหารอร่อย คุยเพลิน bring back the good memory ลูกศิษย์รุ่นนี้เป็นรุ่นแรกที่หลักสูตรของภาควิชาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ ได้เปลี่ยนมาเป็นหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์​จึงนับว่าเป็นลูกศิษย์รุ่นแรกที่เรียนบรรจุภัณฑ์อย่างเป็นทางการ สมัยนั้นมีเวลาอยู่ที่ภาคค่อนข้างมาก มีวิชาสอนเยอะ จึงสนิทกับเด็กรุ่นนี้เป็นพิเศษ  จากการคุยกันลูกศิษย์ทั้ง 3 คนนี้ รวมทั้งตัวเอง (ที่เป็นอาจารย์สอนด้านบรรจุภัณฑ์ และมี passion ด้านบรรจุภัณฑ์อยู่มาก เพราะคิดว่าเราได้พบกับสิ่งที่ชอบแล้วจริง ๆ) พบว่าเราทั้ง 4 คนที่เริ่มรู้จักกันด้วยบรรจุภัณฑ์ แต่เดินออกมาทำงานหลักในด้านอื่นกันหมด ทั้ง ๆ ที่ตอนเรียน 2 ใน 3 คนนี้เรียนบรรจุภัณฑ์และเป็น advisee ตอน senior project จึงได้มีเวลาดูแลใกล้ชิด และรู้ว่าเค้าทำได้ดีในสิ่งที่เค้าเรียน คนนึงเป็นคนเรียนเก

My Gratitude diary for SFHEA

On the journey of SFHEA (Senior Fellow of HEA), there are many people who are in it with me and without them, this would not be possible.  Many of them are in the journey of the story in the application and many others are involved in the process of preparing and submitting applicatoin.  My gratutitudes are to 💙 Assoc.Prof.Dr. Wutthichai Narkraksa, who is my senior project advisor and the teacher of the Introduction to Packaging Class at KMITL.  He encouraged me to continue my study in Packaging as well and inspired me of active learning - back then it was a quite new in Thai Higher Education. 💙 The late Prof.Dr.Ruben J Hernandez, who has given me the opportunity to teach, which led me to find my new passion.  I haven't stopped loving it ever since. 💙 Prof.Dr.Bruce Harte, who was also my second advisor.  He has been a role model both in teaching and leadership.  Last time when I met Dr.Harte, he has another food for thought that I have adopted: "You will be a good leader if

Resources for assessment

เมื่อต้องมีเรื่องให้หาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง assessment สำหรับงานในหลายโอกาส จึงเห็นว่าเรามี resource ทั้งที่เป็น web และ textbook ในเรื่องนี้อยู่เป็นจำนวนมากทีเดียว resource ส่วนนึงจะ focus ที่ assessment สำหรับ K-12 โดยบางส่วนอาจนำไปประยุกต์ใช้กับระดับอุดมศึกษาได้บ้าง ส่วนที่ focus ที่อุดมศึกษาก็มีอยู่บ้างในสัดส่วนที่น้อยกว่ามาก ในส่วนของ web resource อาจจะไม่สามารถรวบรวมมาได้หมด เพราะมีเยอะมากจริง ๆ การใช้ Google Search น่าจะ effective กว่า post นี้จึงรวบรวมไว้เฉพาะ textbook ที่ได้ลงมืออ่านแล้วรู้สึกว่าสามารถประยุกต์ใช้กับงานที่ทำอยู่ได้ และ resource ของ CELT  | LI KMUTT เท่านั้น KM ของสถาบันการเรียนรู้ มจธ. ​ ซึ่งได้รวบรวมเนื้อหาจาก workshop และ literature เรื่องต่าง ๆ รวมทั้งเรื่อง assessment เอาไว้ (ใน web มี search function เพื่อหาเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง) Educational Assessment Course   ใน Udemy (ภาษาไทย) จัดทำขึ้นโดย CELT เหมาะสำหรับคนที่อยากเริ่มต้นเรียนรู้เกี่ยวกับ assessment หรือมีพื้นฐานเพียงเล็กน้อย Learning Assessment Technique: A Handbook for College Faculty เขียนโดย Elizab